สมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ที่มีเครื่องหมายเท่ากับ (=)
ตัวอย่าง 1. 3 + 4 = 7 2. 9 – 3 = 6
อสมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ที่มีเครื่องหมาย < , > , ≠
ตัวอย่าง 1. 3 + 4 < 8 2. 9 – 3 > 4 3. 9 – 5 ≠ 6
2. สมการที่เป็นจริง
สมการที่เป็นจริง เป็นสมการซึ่งมีจำนวนที่อยู่ซ้ายมือของเครื่องหาย = มีค่าเท่ากันกับจำนวนที่อยู่ขวามือ
ตัวอย่าง 1. 134 + 40 = 174 2. 139 - 30 = 109
3. 40 x 40 = 1,600 4. 12 ÷ 6 = 2
สมการที่เป็นจริง เป็นสมการซึ่งมีจำนวนที่อยู่ซ้ายมือของเครื่องหาย = มีค่าเท่ากันกับจำนวนที่อยู่ขวามือ
ตัวอย่าง 1. 134 + 40 = 174 2. 139 - 30 = 109
3. 40 x 40 = 1,600 4. 12 ÷ 6 = 2
3. สมการที่เป็นเท็จ
สมการที่เป็นเท็จ เป็นสมการซึ่งมีจำนวนที่อยู่ซ้ายมือของเครื่องหมาย = มีค่าไม่เท่ากันกับจำนวนที่อยู่ขวามือ
ตัวอย่าง 1. 104 + 10 = 116 2. 130 – 30 = 101
3. 40 x 40 = 1,601 4. 12 ÷ 6 = 5
สมการที่เป็นเท็จ เป็นสมการซึ่งมีจำนวนที่อยู่ซ้ายมือของเครื่องหมาย = มีค่าไม่เท่ากันกับจำนวนที่อยู่ขวามือ
ตัวอย่าง 1. 104 + 10 = 116 2. 130 – 30 = 101
3. 40 x 40 = 1,601 4. 12 ÷ 6 = 5
4. สมการที่มีตัวไม่ทราบค่าหนึ่งตัว
สมการที่มีตัวไม่ทราบค่า เป็นสมการที่มีสัญลักษณ์อื่น ๆ นอกจากตัวเลขอยู่ในสมการนั้น ๆ ซึ่งเรียกว่าสัญลักษณ์นั้นว่าตัวไม่ทราบค่าซึ่งตัวไม่ทราบค่าจะใช้เป็นสัญลักษณ์แบบใดก็ได้ เช่น ก. ค. A, °
ตัวอย่าง 1. 34 + A = 170 ตัวไม่ทราบค่า คือ A
2. ต – 30 = 109 ตัวไม่ทราบค่า คือ ต
สมการที่มีตัวไม่ทราบค่า เป็นสมการที่มีสัญลักษณ์อื่น ๆ นอกจากตัวเลขอยู่ในสมการนั้น ๆ ซึ่งเรียกว่าสัญลักษณ์นั้นว่าตัวไม่ทราบค่าซึ่งตัวไม่ทราบค่าจะใช้เป็นสัญลักษณ์แบบใดก็ได้ เช่น ก. ค. A, °
ตัวอย่าง 1. 34 + A = 170 ตัวไม่ทราบค่า คือ A
2. ต – 30 = 109 ตัวไม่ทราบค่า คือ ต
5. การแก้สมการที่มีตัวไม่ทราบค่าหนึ่งตัว
คำตอบของสมการ คือ จำนวนที่แทนตัวไม่ทราบค่าในสมการแล้วทำให้เป็นจริง เราเรียกจำนวนนั้นว่า คำตอบของสมการ
ตัวอย่าง 1. 14 + A = 20 คำตอบของสมการ คือ 6
2. ต – 30 = 50 คำตอบของสมการ คือ 80
3. 20 x A = 100 คำตอบของสมการ คือ 5
สื่อออนไลน์สมการป.6
คำตอบของสมการ คือ จำนวนที่แทนตัวไม่ทราบค่าในสมการแล้วทำให้เป็นจริง เราเรียกจำนวนนั้นว่า คำตอบของสมการ
ตัวอย่าง 1. 14 + A = 20 คำตอบของสมการ คือ 6
2. ต – 30 = 50 คำตอบของสมการ คือ 80
3. 20 x A = 100 คำตอบของสมการ คือ 5